การพูดคือการสื่อสารที่มนุษย์ใช้กันมากที่สุด แต่ถ้าพูดมากไป ว่าเพ้อเจ้ยน่า คาญ พูดน้อยไปคนเขาก็หาหนึ่ง ไม่พูดคนก็นินทา ว่าเป็นใบ้ พูดจริงเกินไปก็หาว่าปากหมา แล้ว พูดแค่ไหน อย่างไร

ลองดูตัวอย่างการใช้ถ้อยคำของพระพุทธเจ้า พระองค์ทรงยึด หลักดังนี้ 

คำพูดที่ไม่จริง ไม่ถูกต้อง ไม่เป็นประโยชน์ ไม่เป็นที่รักที่ 

ชอบใจของผู้อื่น ไปตรัส 

๒. คำพูดที่จริง ถูกต้อง แต่ไม่เป็นประโยชน์ ไม่เป็นที่รักที่ ชอบใจของผู้อื่น ไม่ตรัส 

คำพูดที่จริง ถูกต้อง เป็นประโยชน์ ไม่เป็นที่รักที่ชอบใจของผู้อื่น – เลือกการตรัส A คำพูดที่ไม่จริง ไม่ถูกต้อง ไม่เป็นประโยชน์ ถึงเป็นที่รักที่ ชอบใจของผู้อื่น ไม่ตรัส 

4. คำพูดที่จริง ถูกต้อง ไม่เป็นประโยชน์ ถึงเป็นที่รักที่ชอบใจ ของผู้อื่น ไม่ตรัส 

5. คำพูดที่จริง ถูกต้อง เป็นประโยชน์ เป็นที่รักที่ชอบใจ ผู้อื่น – เลือกกาลตรัส รอง 

(อภัยราชกุมารสูตร ม.๕ ๑๓๘๕๕๖) 

สรุปว่า คำพูดที่พระองค์จะตรัส คือคำพูดที่จริง ถูกต้อง มีประโยชน์ แม้บางครั้งจะเป็นที่ชอบใจของผู้ฟังหรือไม่ ก็ตรัส แต่รู้กาลอันควรหรือไม่ควรตรัส 

ขอยกตัวอย่างคำพูดง่ายๆ ที่อาจฟังระคายหู แต่เป็นประโยชน์ 

ต่อการปล่อยวางทุกข์ ยังชีวิตให้เป็นปกติสุขมากขึ้น นั่นคือ “ช่าง หัวมัน” “ช่างมันเถาะ” “Let it be 

หลวงตาบุญ น้ำตาชั่งมาวางไว้หน้ากุฏิ โดยมีหัวมันแกววางอยู่ บนตาชั่ง ญาติโยมเดินผ่านไปมา ก็สอบถามด้วยความสงสัย 

“หลวงตาทำอะไรเจ้าคะ?” “ชั่งหัวมัน” หลวงตาตอบสั้นๆวันหนึ่งพระใหม่ บ่นให้หลวงตาฟังเรื่องที่ไม่ค่อยถูกชะตา กับ พระในวัดเดียวกัน ใกล้จะได้วางมวยกันแล้ว ตามประสาพระหนุ่ม ใจร้อน 

หลวงตาชี้ให้ดูที่ตาชั่ง แล้วบอกว่า 

เถอะ” 

“ท่านทำอย่างนั้น ก็มีแต่สร้างปัญหาให้ไม่หยุด “ช่างเขา 

วันนี้หลวงพี่ปานอารมณ์ดีเป็นพิเศษ เพราะบรรดาญาติโยม สรรเสริญยกย่องว่าเทศน์ดีมาก เสียงดี เนื้อหากระชับ ชัดเจน จึงอด ที่จะนำมาคุยอวดหลวงตาบุญไม่ได้ 

หลวงตาบุญจึงชี้ให้ดูหัวมันบนตาชั่ง พร้อมกับเตือนสติว่า 

“คนเขายอได้ ก็ด่าได้ ระวังอย่าไปหลงคำเยินยอมากนัก เดี่ยว จะเจ็บใจภายหลัง หัด “ช่างมัน” บ้าง” 

หลวงพี่จำเนียร กระหืดกระหอบมาฟ้องหลวงตาแต่เช้า 

“หลวงตาบุญ โยมหลายคนเขานินทาหลวงตา เขาบอกว่า หลวงตาบ้า เอาหัวมันมาชั่งกิโลทำไมก็ไม่รู้” 

หลวงตาบุญ หันไปดูหัวมันบนตาชั่ง แล้วตอบยิ้มๆ สบาย 

อารมณ์ว่า 

“ช่างหัวมัน” 

“ช่างหัวมัน” คือความไม่ถือสา หาความใครเขา“ช่างหัวมัน” คือความรู้สึกปล่อยวาง เพราะเข้าใจความ เป็นจริงของโลกว่า มันเป็นของมันอย่างนั้น 

“ช่างหัวมัน” จึงคือสัมมาสังกัปปะ 

พระพุทธเจ้าตรัสเตือนอุบาสกชื่ออดุลว่า 

ความคิดชอบนั่นเอง 

“อดุลเอ๋ย การนินทาและสรรเสริญนี้มีมานานแล้ว มิใช่เพิ่งมีใน วันนี้เท่านั้น คนนั่งอยู่เฉยๆ เขาก็นินทา คนพูดมากเขาก็นินทา แม้คน พูดน้อย เขาก็นินทา ไม่มีใครเลยในโลกนี้ไม่ถูกนินทา ทั้งในอดีต ใน อนาคต และในปัจจุบัน ก็ไม่มีใครเลยที่จะถูกนินทาอย่างเดียว หรือ ได้รับการสรรเสริญอย่างเดียว แต่วิญญูชนพิจารณาทุกวันๆ ย่อม สรรเสริญบุคคลผู้ดำเนินชีวิตหาข้อตำหนิมิได้ ผู้เป็นนักปราชญ์ ผู้มี ปัญญาและศีลมั่นคง ใครเล่าจะควรตำหนิผู้นั้น ผู้เปรียบเหมือนแท่ง ทองชมพูนุท ผู้เช่นนั้นแม้เทวดาก็ชื่นชม ถึงพรหมก็สรรเสริญ” 

(ขุ. ธ. ๒๕/๒๗/๕๕) 

พระอรรถกถาจารย์ได้อธิบายความหมายของคาถานี้ไว้ว่า การนินทาหรือสรรเสริญของคนพาล ไม่ถือเป็นประมาณ แต่บัณฑิต ผู้ใคร่ครวญแล้ว รู้เหตุที่ควรติเตียนหรือสรรเสริญ ย่อมเลือกสรรเสริญ นักปราชญ์ผู้มีปัญญาและศีลมั่นคง ดำรงชีวิตอย่างหาข้อตำหนิมิได้ 

(ซู.ธ.ย. ๖/๑๗๔)พ ร ะ ม ห า ร เ รี ย ว า ม ร ไ ต 

๒๑ 

เรื่องของเรื่องมีอยู่ว่า 

นายอดุลมีพรรคพวกมาก วันหนึ่งพากันไปเพื่อฟังธรรมครั้งแรก เข้าไปหาพระเรวัตตะ แต่ท่านชอบอยู่คนเดียวเงียบๆ จึงไม่ยอมพูด อะไร นายอดุลและเพื่อนๆ ก็นินทาว่านั่งนิ่งเหมือนคนใบ้ นายอดุลจึง เอาเรื่องนี้ไปเล่าให้พระสารีบุตรฟัง พระสารีบุตรจึง แสดงพระอภิธรรม อย่างพิสดาร จนนายอดุลและสหายมึนงงกันไปหมด เพราะจดจำไม่ ไหว ก็นินทาว่าร้ายพระสารีบุตรว่าพูดมากเกินไป จึงพากันไปขอฟัง ธรรมจากพระอานนท์ พระอานนท์จึงได้ เลือกบทธรรมที่ง่ายๆ แสดง ธรรมแต่พอประมาณ แม้อย่างนั้นก็ ยังนินทาพระอานนท์อีก แล้วพา กันไปเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าจึงตรัสเตือนด้วยพุทธพจน์ เบื้องต้นนั้น 

ชอบเขาก็ชม ซึ่งเขาก็แข่ง 

“ช่างหัวมัน” จึงเป็นคาถาสั้น ๆ ง่าย ๆ แก้อาการถือสา หาความ อันก่อให้เกิดความทุกข์แก่ตนเองได้ชะงัดนักแล 

วันหนึ่งหลวงตาบุญ ออกรับบิณฑบาตพร้อมกับสามเณรน้อย อีก ๒ รูป เมื่อเดินผ่านหน้าบ้านของคู่อริเก่าตั้งแต่ครั้งที่ท่านยังไม่บวช ก็ได้ยินเสียงลอยผ่านหน้าต่างบ้านมาว่า 

“ไอ้เหี้ย” 

๒-๓ วันผ่านไป สามเณรน้อยเริ่มสงสัย ว่าคำด่านั้น คงไม่ใช่ด่า คนในบ้านแน่ เพราะเดินผ่านบ้านนี้ทีไร ก็ได้ยินเสียงผรุสวาทนี้ ลอย มาทุกครั้ง สามเณรจึงสอบถามหลวงตาว่า”หลวงตา เขาด่าใครจะ 

“ด่าใคร ก็ช่างเขาเถอะเณร ปล่อยให้คนด่ามันเหี้ยของมัน เดียว อย่าไปรับเอามาให้ตกใจ 

คนเขาด่า ช่างเถอะ เขาคงเครียด คนเขาเกลียด ช่างเขา เกลียดกันได้ เขานินทา ช่างมัน บ้างเป็นไร ไม่เท่าไรตายจากกันช่างมันเอย แต่อย่า “ช่างหัวมัน” อย่างนี้ 

ยายมั่นหาบกระจาดพะรุงพะรังขึ้นรถเมล์ประจำทางที่เชื่อม ต่อระหว่างอำเภอ เพื่อไปขายผักในตลาดสดแห่งหนึ่ง แล้วยายก็ กระจาดขวางประตูรถนั่นเอง 

เมื่อรถเคลื่อนตัว กระเป๋ารถเมล์เริ่มทำหน้าที่เก็บเงินผู้โดยสาร 

ตามปกติ 

ขณะที่ขอเก็บค่าโดยสารยายมั่น กระเป๋ารถเหลือบมองไปที่ กระจาดแล้วก็เตือนว่า 

“ยาย ทำไมวางกระจาดขวางขึ้นทางลงอย่างนี้ล่ะ” ยายมั่นหอบเอาความมั่นมาเกินร้อย ตอบกลับไปว่า 

“ช่างกูเหอะ” 

“อ้าวยายทำไมพูดอย่างนั้น แล้วคนอื่นเขาจะขึ้นจะลงยังไง” กระเป๋ารถเมล์ทักท้วง“ช่างมันสี 

กระเป๋ารถเริ่มอารมณ์เสีย 

“ช่างมันไม่ได้หรอกยาย เดี๋ยวผู้โดยสารคนอื่นเขารู้จักหนิผม นะสี ว่าทำไมไม่บอกยาย 

“ช่างมึงสิโว้ย” ยายมั่นตอบหน้าตาย แต่กระเป๋าเดียวก “น่าตาย” มากกว่า 

“ช่างหัวมัน” คือการ “ปลอม” ที่ใจตน ใน ใจขำๆ เวลามีเหตุการณ์อันไม่พึงประสงค์เกิดขึ้นกับชีวิต 

“ช่างหัวมัน” ใช้ไม่ได้ กับการงานที่ต้องเกี่ยวก๊กแตน อื่น ๆ ต้องแก้ไขไปตามสถานการณ์ มิเช่นนั้นจะกลายเป็น 

“ปล่อยปละละเลย” ไปเสีย 

ขอขอบคุณข้อมูลจากหนังสือ ธรรมะมรรคง่ายแค่ไม่ทุกข์ก็สุขเเล้ว

One thought on “เรื่องเล่านิทานธรรมะเตือนใจตอนมรรคง่ายๆๆ ตอนช่างหัวมัน ”

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *